บทที่ 4
กลยุทธ์การเรียนการสอน
(Strategies of Learning Management) คือทฤษฎีการเรียนรู้และการสอน
รูปแบบการเรียนรู้และพัฒนารูปแบบการเรียนรู้
การบูรณาการเนื้อหาในกลุ่มสาระการเรียนรู้ การบูรณาการการเรียนรู้แบบรวม การใช้
กาารเลือก การผลิตสื่อ และพัฒนานวัตกรรมการเรียนรู้ที่ส่งเสริมผลการเรียนรู้ของผู้เรียน
เทคนิคและวิทยาการการจัดการเรียนรู้
รอบรู้ในเนื้อหาวิชาที่สอนและกลยุทธ์การสอนเพื่อให้ผู้เรียน คิดวิเคราะห์
สังเคราะห์ สร้างสรรค์สิ่งใหม่ ๆ ได้ปฏิสัมพันธ์ระหว่างครูกับผู้เรียนที่ส่งเสริมการพัฒนาศักยภาพของผู้เรียน
การนำประมวลรายวิชามาจัดทำแผนการเรียนรู้รายภาค ปฏิบัติการออกแบบ
แผนการจัดการเรียนรู้และการจัดการเรียนรู้แบบยึดผู้เรียนเป็นสำคัญ
การพัฒนาการจัดการเรียนการสอนและสื่อการสอนสำหรับผู้เรียนในแต่ละระดับการศึกษาได้เหมาะสมกับวัยของผู้เรียน
ผู้เรียนที่มีความสามารถแตกต่างกัน การประเมินผลการเรียน
กิจกรรมที่ส่งเสริมผลการเรียนรู้ของผู้เรียนจากการประเมินผล
ปฏิบัติการจัดการชั้นเรียนและสร้างสรรค์กิจกรรมเพื่อเสริมสร้างพลังอำนาจในการเรียนรู้และพัฒนาด้านอารมณ์
สังคม
1. สภาวการณ์การเรียนการสอนพื้นฐานของการเรียนการสอนปกติ
สภาวการณ์การเรียนการสอน พื้นฐานของการเรียนการสอนปกติ สภาวการณ์เดียวกันนี้จะรวมอยู่ในการเรียนการสอนทุกชนิดไม่ว่าจะเป็นการเรียนด้วยตนเองหรือการเรียนดป็นกลุ่ม และไม่ว่าจะใช้สื่อหรือวิธีการเรียนการสอนใด เช่น การเรียนการสอนโดยใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอน ภาพยนตร์ สถานการณ์จำลอง ฯลฯ
การทดสอบตามเกณฑ์ (Criterion test)
เป็นการวัดความสำเร็จของผู้เรียนตามจุดประสงค์ปลายทาง (terminal objectives)
การปฏิบัติตามเกณฑ์ (Criterion practice)
เกิดขึ้นในสถานการณ์เช่นเดียวกับการทดสอบปลายภาค(การทดสอบหนสุดท้าย) โดยมีจุดประสงค์เพื่อการตัดสินใจผู้เรียนว่ามีความพร้อมที่จะสอบปลายภาคหรือมีความจำเป็นต้อง เรียนซ่อมเสริม
การปฏิบัติระหว่างเรียน (Transitional practice)
ทฤษฎีการเรียนการสอน เป็นสิ่งจำเป็นที่จะผนวกเข้ากับทฤษฎีการเรียนรู้โดยไม่มีข้อโต้แย้ง การพัฒนาทฤษฎีการเรียนการสอนขาดความเอาใจใส่ ละเลย และเมื่อเปรียบเทียบกับทฤษฎีการเรียนรู้แล้ว ทฤษฎ๊การสอนเกือบจะไม่ได้รับการกล่าวถึงในผลงานการเขียนทางทฤษฎีของนักจิตวิทยา แลในส่วนที่มีนี้ยังรวมอยู่ภายในส่วนของ "บุคลากรทางการศึกษา" อีกด้วย
4.1 ทฤษฎีการเรียนการสอนของกาเย่และบริกส์
ขั้นตอนการเรียนการสอนประกอบด้วย
1.เลือกการปฏิบติทั้งหมดที่จะสอนโดยการวิเคราะห์ภาระงาน
2.ตัดสินใจว่าจะสอนการปฏิบัติใดเป็นลำดับแรก
3.เรียงลำดับขั้นตอนการปฏิบัติที่ยังค้างอยู่
4.ระบุเนื้อหาที่สนับสนุน
5.กำหนดเนื้อหาทั้งหมดเป็นบทและจัดลำดับบท
6.เรียงลำดับการเรียนการสอนภายในบท
7.ออกแบบ การเรียนการสอนสำหรับแต่ละบท
การให้เนื้อหาวิชาเป็นศูนย์กลาง
วิธีการนี้ครูจะเน้นไปที่เนื้อหาวิชาที่จัดไว้ดีแล้ว โดยกับผู้เรียนออกไป และคิดว่าเนื้อหาวิชาที่จัดนั้น ครอบคลุมรายวิชาครูจะพึ่งพอใจแม้ว่าการเรียนรู้จะเกิดขึ้นน้อย เป็นต้น
5.หลักการเรียนรู้
การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
ในชั้นเรียนหนึ่งๆ จะมีความแตกต่างระหว่างบุคคลอยู่มาก ไม่มีใครสองคนที่เหมือนกันทุก ประการ แม้กระทั่งลูกแฝดที่เกิดจากไข่ใบเดียวกัน และผู้เรียนแต่ละคนก็จะมีสไตล์การเรียนรู้ที่เป็น ของตัวเอง และมีความถนัดในการเรียนรู้ที่แตกต่างกันทั้ง 4 แบบ (จิตนาการ วิเคราะห์ สามัญสํานึก เรียนรู้ด้วตนเอง : พลวัต) เพื่อให้ผู้เรียนเรียนรู้อย่างมีความสุข สนุกสนานและมีส่วนร่วมในรูปแบบ
การสอนโดยใช้วิธีบทบาทสมมติ
บทบาทสมมติเป็นรูปแบบการสอนที่มีรากฐานมาจากแนวคิดทางการศึกษาของบุคคลและ สังคมที่จะช่วยให้หาลักษณะเฉพาะของตนในสังคม และรู้จักแก้ปัญหาด้วยความช่วยเหลือของกลุ่ม สังคมยอมรับให้บุคคลทํางานด้วยกันเพื่อวิเคราะห์สถานการณ์ของสังคม โดยเฉพาะอย่างยิ่งปัญหา ระหว่างบุคคล และพัฒนาวิถีประชาธิปไตยเพื่อรับมือกับสถานการณ์ต่างๆ เราใช้บทบาทสมมติใน การแก้ปัญหาครอบครัวของมนุษย์ เพราะว่าสังคมเป็นส่วนหนึ่งของพัฒนาการของมนุษย์ และ บทบาทสมมติได้รับการนําเสนอว่าจะแก้ปัญหาระหว่างบุคคลและสังคมได้
มุมมองที่หลากหลายเป้าหมายเหล่านี้ สะท้อนสมมติฐานของบทบาทสมมติดังนี้
1. บทบาทสมมติสนับสนุนการเรียนรู้โดยใช้ประสบการณ์
2. อารมณ์และความคิดสามารถจะนําไปสู่ความมีสติและปฏิกิริยาของกลุ่มเพื่อจะนําไปสู่ ความคิดใหม่ๆ
3. กระบวนการทางจิตวิทยาที่แฝงอยู่จะสร้างความมีสติด้วยการประสานกันของการแสดง และวิเคราะห์
การสอนโดยอาศัยการเรียนรู้บนพื้นฐานของปัญหา
ปกติคนไทยโดยทั่วไปมักจะไม่ค่อยกล้าแสดงออกซึ่งความคิดเห็นของตนในที่สาธารณะ มากนัก แต่มักจะเก็บไปบ่นหรือปรารถนากันตามลําพัง ซึ่งไม่เกิดประโยชน์ในทางสร้างสรรค์ นั้นอาจเป็นเพราะว่าในวัยเด็กไม่ได้รับการฝึกหรือกระตุ้นให้เกิดความคิด และกล้าที่จะเสนอความ คิดเห็นของตนต่อที่ประชุมชน ดังนั้น การนําวิธีการเรียนรู้บนพื้นฐานของปัญหาหรือบางครั้งเรียกว่า วิธีการแก้ปัญหาสมมติ หรือการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นหลัก ซึ่งต่อไปจะเรียกว่าการเรียนด้วยวิธี ปัญหาสมมติ มาใช้ในการจัดการเรียน การสอนจะเป็นการช่วยพัฒนาให้ผู้เรียนคิดอย่างเป็นระบบ ซึ่งเรียกว่าคิดเป็น แก้ปัญหาเป็น ซึ่งเชื่อว่าเป็นวิธีการฝึกคนให้มีการเรียนรู้ซึ่งกันและกัน ความหมาย ของการเรียนด้วยวิธีปัญหาสมมติมีหลากหลาย แต่ที่เหมาะสมมากที่สุดคือ ความหมายที่ให้โดยเบาด์ และแฟลแลทที ซึ่งกล่าวว่า การเรียนด้วยวิธีปัญหาสมมติเป็นวิธีการพัฒนาหลักสูตรและวิธีการสอนที่ใช้ปัญหาเป็นตัวกระตุ้นและเน้นที่กิจกรรมของผู้เรียน ไม่ใช้วิธีการเรียนการแก้ปัญหาในหลักสูตรเดิมอย่างง่ายๆแต่เป็นวิธีจัดหลักสูตรให้มีกิจกรรมการเรียนรู้เกิดขึ้น โดยอาศัย เป็นจริงในการปฏิบัติของวิชาชีพนั้นเป็นตัวแกนหลักสูตร การเรียนด้วยวิธีการปัญหาสมมติ จะเริ่มต้นด้วยการให้ปัญหาที่เป็นสถานการณ์จริงแก่ผู้เรียนก่อน แทนที่จะให้ความรู้ทางสาขาวิชาที่เกี่ยวข้องก่อนเพื่อแก้ปัญหา ด้วยวิธีนี้หลักสูตรและการสอนจึงนำผู้เรียนไปสู่การแสวงหาวิชา ความรู้ และทักษะด้วยตนเอง โดยผ่านขั้นการแก้ปัญหาที่จัดไว้ให้โดยอาศัยวัตถุการเรียนการสอนและ ที่กําหนดให้ตามหลักสูตร
การเรียนรู้แบบร่วมมือกันในชั้นเรียนบูรณาการ
เนื้อหาในส่วนนี้มุ่งทบทวนวิธีการเรียนรู้แบบร่วมมือกันในชั้นเรียนปกติ ซึ่งรวมถึง นักเรียนที่มีความต้องการพิเศษด้วย การอภิปรายมุ่งเน้นที่ข้อได้เปรียบของโครงสร้างเป้าประสงค์ใน การร่วมมือกัน รูปแบบของการเรียนรู้แบบร่วมมือกัน ตลอดจนตรรกะของการเรียนรู้แบบร่วมมือกัน โครงสร้างของสิ่งจูงใจที่มีประสิทธิภาพและปัญหาต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการนําไปใช้
เมื่อกว่ายี่สิบปีที่ผ่านมาได้มีการประชุมที่เมืองเทลาวีฟ ประเทศอิสราเอล และมีการจัด องค์กรเกี่ยวข้องกับการเรียนรู้แบบร่วมมือกันระหว่างประเทศมีสํานักงานที่เมืองลอสแองเจลลีส ประเทศสหรัฐอเมริกา และมีสมาชิกหลายประเทศแต่ละปีจะมีการจัดสัมมนาโดยประเทศต่างๆผลัด กันเป็นเจ้าภาพและมีหนังสือชื่อ (Cooperative Learning) ออกวางตลาดองค์กรดังกล่าวนี้เพิ่มการ เติบโตประมาณยี่สิบกว่าปี หนังสือพิมพ์ ได้วิจารณ์ว่ากระบวนการนี้เขย่าวงการศึกษา ต่อไปนี้ วงการศึกษาจะเริ่มมีการเปลี่ยนแปลง โดยเน้นให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมให้มากขึ้น งานในปัจจุบันส่วน ใหญ่ต้องการคนทํางานร่วมกันตั้งแต่สองคนขึ้นไป
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการเรียนรู้แบบร่วมมือกัน
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการเรียนรู้แบบร่วมมือกันในที่นี้ จะหมายรวมถึงนิยาม ลักษณะและ องค์ประกอบพื้นฐาน โครงสร้างทางทฤษฎีและกิจกรรมเริ่มต้น อุ่นเครื่อง
นิยาม การเรียนรู้แบบร่วมมือกันเป็นการเรียนรู้ที่เน้นการร่วมมือกันของสมาชิกในทีมและระหว่าง ทีม กล่าวคือนักเรียนในแต่ละทีมต้องให้ความร่วมมือกันและสนับสนุนกันภายในทีมของตน
เป้าหมาย เป็นเป้าหมายของการเรียนรู้ที่ประสงค์จะให้เกิดความเชี่ยวชาญ รอบรู้ในวิชา เรียนสามารถทําทุกอย่างได้มากไปกว่าที่เขียนไว้ในหนังสือ เน้นกระบวนการคิดและใช้เวลาในการ ไตร่ตรอง
วิธีการเรียนรู้ หมายถึงว่า จะทําอย่างไร จึงจะนําไปสู่ความเชี่ยวชาญได้ ซึ่งมีอยู่ : รูปแบบด้วยกันคือ รูปแบบแรกเป็นวิธีการทางบวก คือ แบบพึ่งพากับหรือแบบร่วมมือกัน แบบที่สองเป็นวิธีการที่อาจกล่าวได้ว่าเป็นลบในบางโอกาส คือ การแข่งขันกัน และแบบสุดท้าย เป็น กลางหรือเรียกว่าตัวคนเดียว กล่าวคือ
1. วิธีการเรียนรู้แบบร่วมมือ
แบบรวมหัวกันคิด เมื่อครูต้องการสอบความรู้ความเข้าใจของนักเรียนในเรื่องที่ครูสอนไป แล้ว ตามวิธีการแบบดั้งเดิมครูจะใช้วิธีเรียกชื่อนักเรียนตอบคําถามทีละคน หรือนักเรียนยกมือเพื่อ ตอบคําถามแล้วคนก็เรียกนักเรียนคนใดคนหนึ่งให้ตอบคําถาม จุดอ่อนของวิธีดังกล่าวคือ จะมี นักเรียนเพียงไม่กี่คนในห้องที่จะได้ตอบคําถาม นักเรียนส่วนใหญ่ที่ไม่มีโอกาสตอบคําที่จะเกิด ความรู้สึกผิดหวัง ไม่มีส่วนร่วมเป็นสาเหตุ
แบบร่วมมือกัน
การเปิดโอกาสให้นักเรียนในกลุ่มขนาดเล็กได้ทํางานร่วมกับ การเรียนรู้แบบร่วมมือกัน เป็นการเปิดโอกาสให้นักเรียนในกลุ่มขนาดเล็ก มากที่สุด โดยเอาความรู้ความเข้าใจสมาชิกของกลุ่มบูรณาการเป็นผลงานของกลุ่ม และ หรือประสบการณ์ที่ได้นําเสนอต่อสมาชิกในชั้นเรียน เพื่อให้สมาชิกคนอื่นๆ ได้รับความรู้และประสบการณ์ที่กลุ่มไปศึกษานั้นด้วย ขั้นตอนในการปฏิบัติของการเรียนแบบนี้มี 10 ขั้นตอนคือ
1.การอธิปรายทั้งชั้นเรียนโดยให้นักเรียนเป็นศูนย์กลาง
2.การคัดเลือกลุ่มนักเรียน
3.การสร้างทีมพัฒนาทักษะ
ปัจจุบันการจัดการเรียนการสอนให้ได้คุณภาพสูง ต้องอาศัย การคิด
และการสอนให้คิด วงการศึกษาไทยได้มีความเคลื่อนไหวในเรื่องของการคิดมาหลายปีแล้ว
ความคิดเหล่านี้ทําให้เกิด แนวคิดที่จะนํามาใช้ในการสอนหลายเรื่อง เช่น
แนวการสอนคิดเป็น ทําเป็น และแก้ปัญหาเป็น การสอนตามแนวพุทธศาสตร์ ซึ่งได้แก่
การคิดอย่างถูกวิธีตามหลักโยนิโสมนสิกา และการสอน แผนที่ความคิด
แต่แนวคิดเหล่านี้ยังไม่ได้นําไปใช้อย่างกว้างขวาง และปัญหาด้านคุณภาพของการ
คิดขั้นสูงก็ยังคงมีอยู่เรื่อยมา เมื่อมีการปฏิรูปการศึกษาเกิดขึ้น
การมุ่งเน้นการปฏิรูปการเรียนการสอน เพื่อพัฒนาคุณภาพด้านกระบวนการคิด
จึงเป็นกระบวนการสําคัญที่จําเป็นต้องเร่งปรับและพัฒนา อย่างจริงจัง
การสอนกระบวนการคิดหรือการสอนให้ผู้เรียนคิดเป็น เป็นเรื่องที่คลุมเครือ เพราะ
กระบวนการคิดไม่มีเนื้อหาที่ครูจะสามารถมองเห็นได้ง่าย และนําไปอธิบายได้ง่าย
หรือเพราะผู้สอน ไม่สามารถก้าวเข้าไปในห้องสมองของเด็กเพื่อที่จะสังเกตองค์ประกอบของกระบวนการเรียนรู้
จะสังเกตได้เพียงผลที่ได้รับขั้นสุดท้ายของกระบวนการที่ซ่อนอยู่เท่านั้นการคิดเป็นกระบวนการ
ดังนั้นการสอนจึงเป็นกระบวนการด้วย
แนวการสอนเพื่อพัฒนาความคิดมีสามแนวทาง
1. การสอนเพื่อพัฒนาการคิดโดยตรง ด้วยการใช้สื่อการเรียนการสอนประเภทบทเรียน สําเร็จรูป หรือกิจกรรมสําเร็จรูป
2. การสอนเนื้อหาสาระต่างๆ โดยใช้รูปแบบหรือกระบวนการสอนที่เน้นการพัฒนาการคิด สอนลักษณะนี้มุ่งรวมเนื้อหาสาระตามจุดประสงค์ของหลักสูตร แต่เพื่อช่วยให้การสอนเป็นการสอนเป็นการช่วยความสามารถในการคิดของผู้เรียนไปในตัว ผู้สอนสามารถนํารูปแบบการสอนเป็นการ ช่วยพัฒนาความสามารถในการคิดของผู้เรียนไปในตัว
3. การสอนเนื้อหาสาระต่างๆ โดยพยายามส่งเสริมให้ผู้เรียนัฒนาลักษณะการคิดแบบต่างๆ
หมวกหกใบ เป็นตัวแทนของการคิดหกลักษณะ และเป็นทิศทางที่นําไปสู่การคิด ที่จะให้ชื่อว่าเป็นความคิด นั่นคือ เป็นหมวกที่ใช้ในเชิงรุกมากกว่าที่จะใช้ในเชิงรับ(ตอบสนอง)
จุดประสงค์สําคัญ คือว่า หมวกแต่งใบจะเป็นทิศทางในการคิด มากกว่านี้ ความคิด เหตุผลทางทฤษฎีที่สําคัญในการใช้การคิดแบบหมวกหกใบ คือ
ความคิดแบบหมวกสีขาว ความคิดแบบหมวกสีขาวจะครอบคลุมความต้องการจําเป็น สาระสนเทศและช่องว่างที่เกี่ยวกับข้อความจริงและตัวเลข ไม่ถกเถียงกันว่าข้อมูลใครดีกว่ากัน ไม่ว่า เรื่องความคิดส่วนตัวมาพูด แต่ให้ดูพื้นฐานจากข้อมูลต่างๆแสดงถึงความเป็นกลาง ถ้าจะตั้งคําถาม ให้เกิดความคิด ก็จะถามว่า มีข้อมูลอะไรบ้าง ต้องการข้อมูลอะไร และข้อมูลที่ต้องการจะได้มาด้วย วิธีใดตัวอย่างเช่น การสอนความคิดเกี่ยวกับดอกทานตะวัน ข้อมูลและข้อความจริงเกี่ยวกับดอก ทานตะวันคือ
1. ดอกสีเหลืองใหญ่ ใบสีเขียวหนา มีขน
ความคิดแบบหมวกดํา ความคิดแบบหมวกดําจะเป็นเรื่องของการใช้ดุลพินิจพิจารณา ข้อความระวัง เป็นหมวกที่มีคุณค่ามากที่สุด ไม่ได้เป็นหมวกที่มีความรู้สึกผิดหรือด้อยคุณคา 8 เป็นหมวกที่ให้ความรู้สึกในทางลบ หมวกดําจะใช้ในการชี้ว่าทําไมข้อเสนอแนะจึงไม่สอดคล้องกับ ข้อความจริง ประสบการณ์ที่มีอยู่ ระบบที่ใช้อยู่ หรือนโยบายที่ปฏิบัติอยู่หมวกสีดําต้องใช้เหตุผลหร ตรรกะเสมอในการตรวจสอบหาหลักฐาน ตรวจสอบหาความเป็นเหตุเป็นผลตรวจสอบ ความเป็นไปได้ ตรวจสอบผลกระทบ ตรวจสอบความเหมาะสม และตรวจสอบหาความบกพร่องและหากตั้งคําถามให้คิด จะถามว่า อะไรคือจุดอ่อน อะไรคือสิ่งที่ยุ่งยาก อะไรคือสิ่งที่พลาด และเรื่องจุดอ่อนที่ใด
ความคิดแบบหมวกสีเหลือง ความคิดแบบหมวกสีเหลืองเป็นความคิดที่เป็นเหตุเป็นผลทางบวก ทําไมบางสิ่งบางอย่างจึงทําได้ และทําไมบางสิ่งบางอย่างจึงให้ประโยชน์เป็นความคิดที่ สามารถมองไปข้างหน้าถึงเหตุผลของการปฏิบัติ หรือสามารถใช้ในการดูผลลัพธ์ที่จะตามมาของการ นําเสนอการกระทําของคนบางคนแต่ใช้ในการค้นหาอะไรบางสิ่งบางอย่างที่เกิดขึ้นแล้วอย่างมีคุณค่า และหากตั้งคําถามให้คิดว่า จุดที่ดีคืออะไร ผลดีคืออะไร
ความคิดแบบหมวกสีเขียว ความคิดแบบหมวกสีเขียว เป็นการนําเสนอความคิดที่ สร้างสรรค์ มีทางเลือกหลากหลาย น่าสนใจ ท้าทาย และมีการเปลี่ยนแปลง ตัวอย่างคําถามคือผู้เรียน จะนําความคิดนี้ไปทํา (สร้าง ปรับปรุง พัฒนา) อะไรได้ ถ้าจะให้สิ่งนี้ (ดีขึ้น) จะต้องเปลี่ยนอย่างไร
ความคิดแบบหมวกสีน้ำเงิน การคิดแบบหมวกสีน้ำเงิน เป็นการมองภาพรวมหรือเป็น หมวกที่ควบคุมกระบวนการ จะไม่ดูที่เนื้อหาวิชาเอง แต่จะคิดเกี่ยวกับเนื้อหารายวิชานั้นๆ หมวกสีน้ำเงินทําให้ผู้เรียนสามารถควบคุมการเรียนของตนเอง สามารถติดตามความผิดพลาด และความเชื่อผิดๆ ของตนเอง เพื่อแก้ไขให้ถูกต้องเป็นตัวแทนของการควบคุมกระบวนการคิดให้ประสานกัน หมวกสีน้ำเงินจะเกี่ยวข้องกับการคิดที่ยิ่งใหญ่ ตัวอย่างคําถาม เช่น การคิดอะไรที่ต้องการ ขั้นตอนต่อไปนี้คือ อะไร และการคิดอะไรที่ทําไปก่อนแล้ว ดังนั้นผู้เรียนจะต้องนําข้อมูลที่ได้มาจัดหมวดหมู่เรียงลําดับ ขั้นตอน และเรียบเรียงเป็นโครงเรื่องเกี่ยวกับดอกทานตะวันเพื่อที่จะนําไปเรียบเรียงเนื้อหาให้ สมบูรณ์ต่อไป ในขั้นตอนนี้ผู้เรียนจะเลือกข้อมูลมาจัดหมวดหมู่แล้วคิดเพิ่มเติมหรืออาจจะศึกษา ความรู้จากแหล่งอื่นๆ เพื่อให้ได้ข้อมูลที่สมบูรณ์ขึ้น จะเห็นได้ว่าหมวกความคิดใบที่หกสี สามารถ นามาประยุกต์ใช้ในการจัดกิจการการเรียนการสอนให้ผู้เรียนได้เกิดทักษะการคิด การพูด การเขียนไปตามเนื้อหาสาระของวิชานั้นๆ ได้ ผู้สอนก็จะมีคําถามหรือแนวทางที่กระตุ้นความคิดของผู้เรียนได้อย่างหลากหลาย
บทนำ (Introduction)
จะช่วยนำความตั้งใจของผู้เรียนไปสู่ภาระการงานการเรียนรู้
จูงใจผู้เรียนด้วยการอธิบายประโยนช์ของการประสบความสำเร็จตามจุดประสงค์และโยงความสัมพันธ์ของการเรียนรู้ใหม่กับการเรียนรู้เดิมที่มีมาก่อน
การนำเสนอ (Presentation)
เป็นการนำเสนอสารสนเทศ ข้อความจริง มโนทัศน์ หลักการหรือวิธีการให้กับผุู้เรียน ข้อกำหนดของการนำเสนอจะหลากหลายไปตามแบบของการเรียนรู้ที่จะให้ประสบความสำเร็จ และขึ้นอยู่กับพฤติกรรมแรกเข้าเรียนหรือพฤติกรรมหรือพฤติกรรมที่แสดงว่ามีความพร้อมถึงระดับที่จะรับสอน (entry-leve behavior) การทดสอบตามเกณฑ์ (Criterion test)
เป็นการวัดความสำเร็จของผู้เรียนตามจุดประสงค์ปลายทาง (terminal objectives)
การปฏิบัติตามเกณฑ์ (Criterion practice)
เกิดขึ้นในสถานการณ์เช่นเดียวกับการทดสอบปลายภาค(การทดสอบหนสุดท้าย) โดยมีจุดประสงค์เพื่อการตัดสินใจผู้เรียนว่ามีความพร้อมที่จะสอบปลายภาคหรือมีความจำเป็นต้อง เรียนซ่อมเสริม
การปฏิบัติระหว่างเรียน (Transitional practice)
เป็นการออกแบบช่วยผู้เรียนให้สร้างสะพานข้ามช่องว่างระหว่างปฏิบัติกับการแสดงว่ามีความพร้อมถึงระดับที่จะรับการสอนกับพฤติกรรมที่กำหนดโดยจุดประสงค์ปลายทางสิ่งสำคัญที่ควรจดจำเกี่ยวกับการปฏิบัติในระหว่างเรียนคือเป็นความเป็นการเตรียมตัวผู้เรียนเพื่อการแสดงออกซึ่งการปฏิบัติที่เป็นไปตามเกณฑ์
การแนะนำ (Guidance)
เป็นการฝึกที่ฉับพลันที่ช่วยให้ผู้เรียนแสดงออกอย่างถูกต้องในช่องต้นของการปฏิบัติพบว่าจะมีการช่วยเหลือมากและจะค่อยๆลดลง การช่วยเหลือจะอยู่ในช่วงปฏิบัติในระหว่างเรียนเท่านั้น ส่วนในช่วงการปฏิบัติตามเกณฑ์ไม่ต้องช่วย
การให้ข้อมูลป้อนกลับ
เป็นส่วนหนึ่งของการบูรณาการการปฏิบัติ เพื่อที่จะบอกกับผู้เรียนว่าปฏิบัติถูกต้องหรือปฏิบัติไม่ถูกต้องและจะปรับปรุงการปฏิบัตินั้นอย่างไร การปฏิบัติแต่เพียงอย่างเดียวโดยไม่มีข้อมูลป้อนกลับไม่เป็นเพียงสำหรับการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ
2.ความต้องการทฤษฎีการเรียนการสอน
ทฤษฎีการเรียนการสอน เป็นสิ่งจำเป็นที่จะผนวกเข้ากับทฤษฎีการเรียนรู้โดยไม่มีข้อโต้แย้ง การพัฒนาทฤษฎีการเรียนการสอนขาดความเอาใจใส่ ละเลย และเมื่อเปรียบเทียบกับทฤษฎีการเรียนรู้แล้ว ทฤษฎ๊การสอนเกือบจะไม่ได้รับการกล่าวถึงในผลงานการเขียนทางทฤษฎีของนักจิตวิทยา แลในส่วนที่มีนี้ยังรวมอยู่ภายในส่วนของ "บุคลากรทางการศึกษา" อีกด้วย
เหตุผลต่อการเพิกเฉยต่อทฤษฎีการสอนเป็นเรื่องที่น่าสนใจ การตรวจสอบเหตุผลที่จะกล่าวต่อไปนี้อาจจะช่วยในการตัดสินใจว่าเ็นไปได้หรือไม่ที่ทฤษฎีการสอนจะมีการก่อตัวขึ้นและเป็นไปตามต้องการ
ศิลปะกับวิทยาศาสตร์ บางครั้งความพยายามที่พัฒนาทฤษฎีการสอนดูเหมือนว่าจะเป็นนัยของการพัฒนาวิทยาศาสตร์ด้วย แต่ผู้เขียนบางคนปฏิเสธความคิดในเรื่องของวิทยาศาสตร์การสอนไฮเจท (Highet)
ไฮเจท ได้โต้แย้ง คัดค้าน ต่อต้านพัฒนาการเรียนรู้ โดยโต้แย้งว่าในการประยุกต์ใช้ทฤษฎีการสอนไม่มีความจำเป็นที่จะต้องพิจารณาวิทยาศาสตร์การสอน โดยเห็นว่าไม่สมควรจะให้ความเท่าเทียมกันในความพยายามเกี่ยวกับกิจกรรมกับความพยายามที่จะขจัดปรากฎการณ์เกี่ยวกับนิสัย และคุณลักษณะทางศิลปะ เป็นต้น
ทฤษฎีการสอนควรเกี่ยวข้องกับการอธิบาย การทำนาย และการควบคุมทิศทางครูที่ครูปฏิบัติที่ส่งผลต่อการเรียนรู้ของผู้เรียน ดังนั้นทฤษฎีการสอนก็คงเกี่ยวข้องกับขอบเขตทั้งหมดของ ปรากฏการณ์ที่ไม่ได้รับการเอาใจใส่หรือถูกละเลยจากทฤษฎีการเรียนรู้ด้วย
ครูต้องรู้ว่าจะจัดการกับพฤติกรรมของตนเองซึ่งมีผลต่อการเรียนรู้ของนักเรียนอย่างไร ความรู้เกี่ยวกับกระบวนการเรียนรู้ไม่ได้เกิดขึ้นอย่างอัตโนมัติ ในการอธิบายและการควบคุมการปฏิบัติการสอนต้องการวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการสอนที่ถูกต้องของตนเอง ผู้เรียนจิตวิทยา การศึกษาแสดงความข้องใจว่า ได้เรียนรู้มากเกี่ยวกับการเรียนรู้และผู้เรียน แต่ไม่ได้เรียนรู้เกี่ยวกับการสอนและได้ตั้งคำถามเกี่ยวกับควมสมบูรณ์ของการสอนแบบสืบสวน ซึ่งรวมอยู่ในทฤษฎีการเรียนการสอนด้วย
3.ธรรมชาติของทฤษฎีการเรียนการสอน
ทฤษฎีการเรียนการสอน (Theory of
instruction) คือ ข้อความรู้ที่พรรรนา/อธิบาย/ทำนาย
ปรากฏการณ์ต่างทางการสอนที่ได้รับการพิสูจน์ ทดสอบ และการยอมรับว่าเชื่อถือได้ ซึ่งนักจิตวิทยาหรือนักการศึกษาอาจพัฒนาหรือแปลงมาจากทฤษฎีการเรียนรู้
เพื่อนำไปใช้เป็นหลักในการเรียนการสอนให้เป็นไปตามจุดมุ่งหมายที่กำหนดไว้
ทฤษฎีการเรียนรู้และทฤษฎีการพัฒนาการมีความสัมพันธ์กับทฤษฎีการเรียนการสอน ตามความเป็นจริงแล้วทฤษฎีการเรียนกรสอนต้องเกี่ยวข้องกับการเรียนรู้และพัฒนาการดีเท่าๆกับเนื้อหาวิชาและต้องมีความสมเหตุสมผลท่ามกลางทฤษฎีอิ่นๆที่มีอยู่หลากหลายทุกทฤษฎีจะมีความสัมพันธ์ซึ่งกันและกัน สำหรับทฤษฎีการเรียนการสอนมีลักษณะสำคัญสี่ประการ คือ
ประการแรก
ทฤษฎีการเรียนการสอนควรชี้เฉพาะประสบการณ์ซึ่งถูกฝังปุ่มเฉพาะบุคคลให้โอนเอียงสู่การเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพหรือเป็นการเรียนรู้ที่สุดหรือเป็นการเรียนรู้ชนิดพิเศษตัวอย่างเช่นความสัมพันธ์ชนิดใดที่มีโอกาสต่อโรงเรียนและสิ่งต่างๆในสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนอนุบาลซึ่งมีแนวโน้มที่จะทำให้เด็กตั้งใจและสามารถเรียนรู้เมื่อเข้าโรงเรียน
ประการที่สอง
ทฤษฎีการเรียนการสอนต้องชี้เฉพาะวิธีการจัดโครงสร้างองค์ความรู้เพื่อให้เกิดความพร้อมที่สุดสำหรับผู้เรียนที่จะตักตวงความรู้นั้นความดีของโครงสร้างขึ้นอยู่กับพลังในการทำสารสนเทศให้มีความง่ายและให้การข้อความใหม่เพื่อนที่ต้องพิสูจน์และเพื่อเพิ่มการถ่ายเทองค์ความรู้มีอยู่เสมอที่โครงสร้างต้องสัมพันธ์กับสถานภาพและพรสวรรค์ของผู้เรียนด้วย
ประการที่สาม
ซึ่งจะดีการเรียนการสอนควรชี้เฉพาะขั้นตอนที่มีประสิทธิภาพที่สุดในการนำเสนอสิ่งที่ผู้เรียนต้องเรียนรู้ ตัวอย่างเช่น ผู้สอน คนหนึ่งปรารถนาที่จะสอนโครงสร้างทฤษฎีฟิสิกส์สมัยใหม่เขาทำอย่างไรเขานำเสนอสาระที่เป็นรูปประธรรมก่อนด้วยวิธีการให้ตั้งคำถามเพื่อสืบค้นความจริงเกี่ยวกับทฤษฎีที่ผู้เรียนต้องนำไปซึ่ง ทำให้ง่ายขึ้นเมื่อต้องเผชิญกับการนำเสนอกฎนี้อีกครั้งในภายหลัง
ประการสุดท้าย
ทฤษฎีการเรียนรู้ควรชี้เฉพาะธรรมชาติและช่วง
9
ของการให้รางวัลและการลงโทษในขบวนการเรียนรู้และการสอนในขณะที่ขบวนการเรียนรู้มีจุดดีกว่าที่จะเปลี่ยนจากรางวัลภายนอกเช่นคำยกย่องสรรเสริญจากครูไปเป็นรางวัลภายในโดยธรรมชาติในการแก้ปัญหาที่ซับซ้อนสำหรับตนเองดังนั้นการให้รางวัลทันทีใดควรแทนที่ ด้วยรางวัลของการปฏิบัติตามหรืออนุโลมตาม อัตราการเคลื่อนย้ายหรือเปลี่ยนแปลงจากรางวัลภายนอกไปสู่รางวัลภายในและจะได้รางวัลทันใดไปสู่รางวัลการอนุโลมตาม
เป็นเรื่องที่เข้าใจยากและมีความสำคัญอย่างเห็นได้ชัด
4.ทฤษฎีการเรียนการสอน
ทฤษฎีการเรียนการสอนได้รับพิจารณาว่าเป็นส่วนย่อยของทฤษฎีการออกแบบการเรียนการสอน (Instructional design theory) ซึ่งเป็นส่วนย่อยของทฤษฎีระบบการเรียนการสอน (Instructional system theory)
มีทฤษฎีการเรียนการสอนที่น่าสนใจและเป็นประโยชน์มากมาย ซึ่งในที่นี้จะกล่าวถึงเพียงสี่ทฤษฎีซึ่งมีลักษณะแตกต่างกัน คือ ทฤษฎีการเรียนการสอนของกาเย่ และบริกส์ (Gagne and Briggs) ทฤษฎีการเรียนการสอนของเมอร์ริล และไรเกลุท (Merrill and Reigeluth) ทฤษฎีการเรียนการสอนของเคส (Case) และทฤษฎีการเรียนการสอนของลันดา (landa) และอื่นๆ
4.1 ทฤษฎีการเรียนการสอนของกาเย่และบริกส์
กาเย่ (Gagne, 1985) มีส่วนช่วยเหลืออย่างสำคัญเกี่ยวกับการเรียนรู้ดังที่เขาได้ตรวจสอบเงื่อนไขสำหรับการเรียนรู้
กาเย่และบริกส์ (Gagne and Briggs, 1979) ได้ขยายเงื่อนไขนี้ออกไปโดยพัฒนาชุดของหลักการสำหรับการออกแบบการเรียนการสอน
ทฤษฎีดังกล่าว มีแนวโน้มที่จะเพิกเฉยต่อปัจจัยการเรียนรู้เดิม เช่น การเสริมแรง
การต่อเนื่อง และการปฏิบัติ
กระบวนการเรียนการสอน
กาเย่ได้นำเอาแนวความคิดมาใช้ในการเรียนการสอนโดยยึดหลักการนำเสนอเนื้อหาและจัดกิจกรรมการเรียนรู้จากการมีปฏิสัมพันธ์
หลักการสอน
9 ประการ ได้แก่
1.เร่งเร้าความสนใจ (Gain Attention) กระตุ้นหรือเร้าให้ผู้เรียนเกิดความสนใจกับบทเรียนและเนื้อหาที่จะเรียนการเร้าความสนใจผู้เรียนนี้อาจทำได้โดย
การจัดสภาพแวดล้อมให้ดึงดูดความสนใจ เช่น การใช้ภาพกราฟิก ภาพเคลื่อนไหว และ/หรือการใช้เสียงประกอบบทเรียนในส่วนบทนำ
2.บอกวัตถุประสงค์ (Specify Objective) การบอกให้ผู้เรียนทราบถึงจุดประสงค์ของบทเรียนนี้มีความสำคัญเป็นอย่างยิ่ง
โดยเฉพาะการเรียนการสอนบนเว็บที่ผู้เรียนสามารถควบคุมการเรียนของตนเองได้โดย
การเลือกศึกษาเนื้อหาที่ต้องการศึกษาได้เอง
ดังนั้นการที่ผู้เรียนได้ทราบถึงจุดประสงค์ของบทเรียนล่วงหน้าทำให้ผู้เรียนสามารถมุ่งความสนใจไปที่เนื้อหาบทเรียนที่เกี่ยวข้อง อีกทั้งยังสามารถเลือกศึกษาเนื้อหาเฉพาะที่ตนยังขาดความเข้าใจที่จะช่วยทำให้ผู้เรียนมีความรู้ความสามารถตรงตามจุดประสงค์ของบทเรียนที่ได้กำหนดไว้
3.ทบทวนความรู้เดิม (Activate Prior Knowledge) การทบทวนความรู้เดิมช่วยกระตุ้นให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้เนื้อหาใหม่ได้รวดเร็วยิ่งขึ้นรูปแบบการทบทวนความรู้เดิมในบทเรียนบนเว็บทำได้หลายวิธี เช่น กิจกรรมการถาม-ตอบคำถาม
หรือการแบ่งกลุ่มให้ผู้เรียนอภิปรายหรือสรุปเนื้อหาที่ได้เคยเรียนมาแล้ว เป็นต้น
4.นำเสนอเนื้อหาใหม่ (Present New Information) การนำเสนอบทเรียนบนเว็บสามารถทำได้หลายรูปแบบด้วยกัน คือ การนำเสนอด้วยข้อความ
รูปภาพ เสียง
หรือแม้กระทั่ง วีดิทัศน์
อย่างไรก็ตามสิ่งสำคัญที่ผู้สอนควรให้ความสำคัญก็คือผู้เรียน
ผู้สอนควรพิจารณาลักษณะของผู้เรียนเป็นสำคัญเพื่อให้การนำเสนอบทเรียนเหมาะสมกับผู้เรียนมากที่สุด
5.ชี้แนะแนวทางการเรียนรู้ (Guide Learning) การชี้แนวทางการเรียนรู้ หมายถึง การชี้แนะให้ผู้เรียนสามารถนำความรู้ที่ได้เรียนใหม่ผสมผสานกับความรู้เก่าที่เคยได้เรียนไปแล้ว
เพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ที่รวดเร็วและมีความแม่นยำมากยิ่งขึ้น
6.กระตุ้นการตอบสนองบทเรียน (Elicit Response) นักการศึกษาต่างทราบดีว่าการเรียนรู้เกิดขึ้นจากการที่ผู้เรียนได้มีโอกาสมีส่วนร่วมในกระบวนการเรียนการสอนโดยตรง
ดังนั้นในการจัดการเรียนการสอนบนเว็บจึงควรเปิดโอกาสให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียน ซึ่งอาจทำได้โดยการจัดกิจกรรมการสนทนาออนไลน์รูปแบบ Synchronous
หรือการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นผ่านเว็บบอร์ดในรูปแบบ
Asynchronous เป็นต้น
7.ให้ข้อมูลย้อนกลับ (Provide Feedback) ลักษณะเด่นประการหนึ่งของการเรียนการสอนบนเว็บก็คือการที่ผู้สอนสามารถติดต่อสื่อสารกับผู้เรียนได้โดยตรงอย่างใกล้ชิด
เนื่องจากบทบาทของผู้สอนนั้นเปลี่ยนจากการเป็นผู้ถ่ายทอดความรู้แต่เพียงผู้เดียวมาเป็นผู้ให้คำแนะนำและช่วยกำกับการเรียนของผู้เรียนรายบุคคล และด้วยความสามารถของอินเทอร์เน็ตที่ทำให้ผู้เรียนและผู้สอนสามารถติดต่อกันได้ตลอดเวลา ทำให้ผู้สอนสามารถติดตามก้าวหน้าและสามารถให้ผลย้อนกลับแก่ผู้เรียนแต่ละคนได้ด้วยความสะดวก
8.ทดสอบความรู้ใหม่ (Assess Performance) การทดสอบความรู้ความสามารถผู้เรียนเป็นขั้นตอนที่สำคัญอีกขั้นตอนหนึ่ง เพราะทำให้ทั้งผู้เรียนและผู้สอนได้ทราบถึงระดับความรู้ความเข้าใจที่ผู้เรียนมีต่อเนื้อหาในบทเรียนนั้นๆ การทดสอบความรู้ในบทเรียนบนเว็บสามารถทำได้หลายรูปแบบ
ไม่ว่าจะเป็นข้อสอบแบบปรนัยหรืออัตนัย
การจัดทำกิจกรรมการอภิปรายกลุ่มใหญ่หรือกลุ่มย่อยเป็นต้น ซึ่งการทดสอบนี้ผู้เรียนสามารถทำการทดสอบบนเว็บผ่านระบบเครือข่ายได้
9.สรุปและนำไปใช้ (Review and Transfer) การสรุปและนำไปใช้
จัดว่าเป็นส่วนสำคัญในขั้นตอนสุดท้ายที่บทเรียนจะต้องสรุปมโนคติของเนื้อหาเฉพาะประเด็นสำคัญ
ๆ
รวมทั้งข้อเสนอแนะต่าง ๆ
เพื่อเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้มีโอกาสทบทวนความรู้ของตนเองหลังจากศึกษาเนื้อหาผ่านมาแล้ว
ในขณะเดียวกันบทเรียนต้องชี้แนะเนื้อหาที่เกี่ยวข้องหรือให้ข้อมูลอ้างอิงเพิ่มเติม
เพื่อแนะแนวทางให้ผู้เรียนได้ศึกษาต่อในบทเรียนถัดไปหรือนำไปประยุกต์ใช้กับงานอื่นต่อไป
เลสลี่ บริกส์ (Leslie Briggs) เป็นนักการศึกษาที่สําคัญในวงการออกแบบและพัฒนาระบบการเรียน
การสอน ได้มีการดําเนินการออกแบบในแต่ละขั้นตอนอย่างละเอียด
โดยเฉพาะอย่างยิ่งในรูแบบการเลือกใช้ สื่อการสอน
ซึ่งได้มีการวางแผนเพื่อนําเอานวัตกรรมมาเผยแพร่ด้วย ระบบการเรียนการสอนของ Briggs เหมาะสําหรับการออกแบบ
การเรียนการสอนในระดับหน่วยวิชา หรือระดับโปรแกรมการเรียนรายวิชา ซึ่งถ้า
สามารถดําเนินการตามคําแนะนําทุกขั้นตอนแล้ว การใช้ระบบของ Briggs จะได้ผลดีโดยเฉพาะ
ในการพัฒนา โปรแกรมการเรียนการสอนรายวิชา
4.2 ทฤษฎีการเรียนการสอนของเมอร์ริลและไรเกลุท
ทฤษฎีการเรียนการสอนของเมอร์ริลและไรเกลุท
เกี่ยวข้องกับกลยุทธ์มหาภาพสำหรับการจัดการเรียนรู้การสอนเช่นความสัมพันธ์ระหว่างหัวข้อของรายวิชาและลำดับขั้นตอนการเรียนการสอน
ทฤษฎีนี้เน้นมโนทัศน์หลักการระเบียบวิธีการและระลึก
สาระสนเทศข้อความจริงต่างๆได้ทั่วไป แล้วทฤษฎีนี้มีทัศนะเกี่ยวข้องกับการเรียนการสอนว่าเป็นกระบวนการของการนำเสนอรายละเอียดอย่างค่อยเป็นค่อยไป
1.เลือกการปฏิบติทั้งหมดที่จะสอนโดยการวิเคราะห์ภาระงาน
2.ตัดสินใจว่าจะสอนการปฏิบัติใดเป็นลำดับแรก
3.เรียงลำดับขั้นตอนการปฏิบัติที่ยังค้างอยู่
4.ระบุเนื้อหาที่สนับสนุน
5.กำหนดเนื้อหาทั้งหมดเป็นบทและจัดลำดับบท
6.เรียงลำดับการเรียนการสอนภายในบท
7.ออกแบบ การเรียนการสอนสำหรับแต่ละบท
แบบจำลองดังกล่าวนี้ใช้วิเคราะห์ภาระงานในการระบุเนื้อหาที่จะสอนในขณะที่กาเย่และบริกส์เน้นลำดับก่อนหลังของการเรียนรู้ที่สัมพันธ์กันเป็นพื้นฐานสำหรับการจัดขั้นตอนการเรียนการสอน
เมอร์ริลและไรเกลุทเน้นการเรียนการสอนเบื้องต้นด้วยความคิดที่กว้างกว้างโดยทั่วไปอาจเป็นนิดเดียวก็จะดำเนินไปสู่รายละเอียดให้มากขึ้น
4.3 ทฤษฎีการเรียนการสอนของเคส
เคส (Case) ได้แนะนำว่าขั้นตอนของพฤติกรรมระหว่างระยะสำคัญของการพัฒนาเชาว์ปัญญาขึ้นอยู่กับการปรากฏให้เห็นถึงการเพิ่มความซับซ้อนของประยุทธ์ทางปัญญาการใช้กลยุทธ์ที่ซับซ้อนมากขึ้นกับผู้เรียนทำให้เพิ่มประสบการณ์และเพิ่มขนาดของการทำงานในหน่วยความจำอย่างค่อยเป็นค่อยไปด้วย
ทฤษฎีการสอนของเคส
ให้แนวคิดเกี่ยวกับการสอนด้านพฤติกรรมในระหว่างการสอนแต่ละขั้นของพัฒนาการทางสติปัญญานั้นขึ้นกับการเพิ่มความซับซ้อนของยุทธศาสตร์การคิด
ผู้เรียนจะใช้ความคิดที่ซับซ้อนได้เมื่อได้รับประสบการณ์อย่างมีขั้นตอน
การจัดการสอนลักษณะนี้จัดลำดับตามความมุ่งหมายของภารกิจที่จะเรียน
จัดลำดับขั้นการปฏิบัติเพื่อนำไปสู่ความมุ่งหมายนั้น ๆ
โดยการเปรียบเทียบการคิดกับทักษะที่ผู้เรียนได้รับ
มีการจัดระดับความสามารถและการปฏิบัติของผู้เรียน
มีแบบฝึกหัดหรือตัวอย่างให้ผู้เรียนได้ศึกษา
ทฤษฎีการสอนของเคส มีความคล้ายคลึงกับงานของเพียเจต์
(Piaget’s
work) โดยเพียเจต์ ได้แนะนำว่าประยุทธ์ทางปัญญาของนักเรียนที่ยังไม่รับการสอนสามารถจะเปิดเผยและใช้พื้นฐานสำหรับจัดลำดับขั้นตอนการเรียนการสอนและวางแผนเหตุการณ์การเรียนการสอนได้
4.4 ทฤษฎีการเรียนการสอนของลันดา
ทฤษฎีการเรียนการสอนของลันดา (Landa,
1974) เป็นการออกแบบจำลองการเรียนการสอนที่แยกออกมา
โดยใช้วิธีการพิเศษในการแก้ปัญหาเฉพาะอย่าง (algorithms) โปรแกรมการฝึกอบรมจะมีการพัฒนาวิธีการพิเศษในการแก้ปัญหาเฉพาะอย่างของภาระงาน
ซึ่งกำหนดให้ผู้เรียนติดตามระเบียบวิธีการที่มีอยู่ในคู่มือการฝึกอบรม
ในการใช้วิธีการออกแบบของลันดา เป็นความจำเป็นที่ต้องมีการระบุกิจกรรมและการปฏิบัติทั้งหมดที่มีอยู่ก่อนหน้านั้น
ซึ่งผู้เรียนจะต้องแสดงออกมา เพื่อจะได้รวมไว้ในการแก้ปัญหาบางอย่าง
การพิจารณาคุณลักษณะของผู้เรียน
การวิเคราะห์ภาระงานและการเรียนการสอนแล้วนั้นจะพบว่าการพิจารณาคุณลักษณะของผู้เรียนต้องอาศัยความรู้ที่มีอยู่ของผู้เรียนหรือความรู้เดิมซึ่งจะมีความสัมพันธ์กับการตัดสินใจวางแผนการเริ่มต้นของโปรแกรมการเรียนการสอนมีใหม่ในที่นี้จะได้กล่าวถึงการประมวลสารสาระทาง
ทักษะของผู้เรียน ซึ่งจะสัมพันธ์กับการออกแบบสิ่งแวดล้อมของการเรียนการให้เนื้อหาวิชาเป็นศูนย์กลาง
วิธีการนี้ครูจะเน้นไปที่เนื้อหาวิชาที่จัดไว้ดีแล้ว โดยกับผู้เรียนออกไป และคิดว่าเนื้อหาวิชาที่จัดนั้น ครอบคลุมรายวิชาครูจะพึ่งพอใจแม้ว่าการเรียนรู้จะเกิดขึ้นน้อย เป็นต้น
5.หลักการเรียนรู้
→ การเรียนการสอนเป็นการทำให้ผู้เรียนมีความตั้งใจต่อภาระงานเป็นการจูงใจผู้เรียนด้วยการอธิบายประโยชน์ของสัมฤทธิ์ผลตามจุดประสงค์และโยงความสัมพันธ์ของการเรียนรู้ใหม่เข้ากับการเรียนรู้เดิม
→ การนำเสนอนี้จะมุ่งไปที่เหตุการณ์ระหว่างที่มีการนำสาระสนเทศข้อความจริงมโนทัศน์หลักการหรือวิธีการไปสู่นักเรียนข้อกำหนดของการเสนอจะมีความหลากหลายขึ้นอยู่กับแบบของการเรียนรู้ที่จะประสบผลสำเร็จและระดับพฤติกรรมความพร้อมที่จะรับการสอนของผู้เรียน
การแนะนำบทเรียน
การแนะนำบทเรียนกิจกรรมเริ่มแรกของกระบวนการสอนการเรียนรู้คือทำให้ผู้เรียนตั้งใจและเตรียมผู้เรียนไปสู่การฝึกปฏิบัติและการแนะนำบทเรียนควรอธิบายจุดประสงค์ของการเรียนการสอนพัฒนาประโยชน์ของการบรรลุผลสำเร็จตามจุดประสงค์และโยงความสัมพันธ์สำหรับสิ่งที่ผู้เรียนรู้ใหม่กับความรู้เดิมผู้เรียนจะประสบผลสำเร็จตามจุดประสงค์อย่างมีประสิทธิภาพมากกว่าถ้าได้รับรู้ว่าการเรียนการสอนจะเริ่มต้นเมื่อไหร่และคาดหวังอะไร.
เมื่อรู้แล้วสามารถพรุ่งความสนใจไปที่กิจกรรมที่จะนำไปสู่ความสำเร็จตามจุดประสงค์
การนำเสนอเนื้อหาใหม่
การนำเสนอเนื้อหาใหม่เมื่อมีการเรียนรู้ใหม่บทเรียนควรนำเสนอข้อความจริงหรือพนานาสาธิตทักษะการนำเสนอเนื้อหาใหม่ใหม่ให้จดจำได้ง่ายควรนำเสนออย่างมีลำดับขั้นตอนมีแบบของโครงสร้างทำให้มีความหมายต่อผู้เรียน
การขจัดสาระสนเทศแทรกซ้อนไม่เป็นที่ต้องการและขจัดเนื้อหาที่สับสนและไม่เกี่ยวข้องออกไปแต่ดีต่อผู้เรียน
การฝึกปฏิบัติ
การฝึกปฏิบัติการเรียนรู้เป็นกระบวนการของการตื่นตัวและมีประสิทธิภาพมากขึ้นเมื่อผู้เรียนได้มีการผลิตมีการปฏิบัติหรือมีการพยายามใช้มือกลับภาระการงานที่ได้เรียนรู้
การฝึกปฏิบัติเป็นส่วนผสมที่สำคัญที่สุดของการเรียนการสอนที่มีประสิทธิภาพช่วยเร่งการเรียนรู้ช่วยให้จดจำได้นานและให้ความสะดวกในการละลึกได้
การปฏิบัติที่เปิดเผยหรือไม่เปิดเผย
เป็นได้ทั้งการตอบสนองอย่างเปิดเผยและไม่เปิดเผยการตอบสนองแบบเปิดเผยเช่นการเขียนคำตอบการแสดงวิธีการการกล่าวคำวลี
ส่วนการตอบสนองพี่ไม่เปิดเผยเช่นการที่คำตอบการปฏิบัติทางสมองเกี่ยวกับโซของคำพูดพี่ออกมาเป็นคำบรรยายซึ่งกระบวนการเหล่านี้เป็นสิ่งที่สังเกตไม่ได้
ตารางการฝึกปฏิบัติ
โดยทั่วไปแล้วยิ่งผู้เรียนมีโอกาสตอบสนองมากเท่าไหร่การเรียนรู้สิ่งเกิดมากขึ้นเท่านั้นการฝึกปฏิบัติไม่ควรจะมากในช่วงเวลาเดียว
การท่องหนังสือเพื่อการสอบเป็นตัวอย่างปฏิบัติที่มากในครั้งเดียวอาจทำให้เกิดผลทดสอบได้คะแนนสูงแต่อาจลืมเนื้อหาวิชาได้อย่างรวดเร็ว
การกระจายการฝึกปฏิบัติเป็นสิ่งที่ดีกว่าสำหรับการเรียนรู้ทุกประเภทและเป็นสิ่งที่จำเป็นสำหรับผู้ที่มีความสามารถน้อย
การปฏิบัติเชิงเปลี่ยนแปลง
เป็นสะพานข้ามช่องว่างระหว่างพฤติกรรมระดับความพร้อมที่จะรับการสอนและปฏิบัติตามเกณฑ์หรือกล่าวอีกนัยหนึ่งว่าเป็นการเรียนรู้ที่เพิ่มจากระดับความพร้อมที่จะรับการสอนไปถึงเกณฑ์ที่ต้องปฏิบัติให้ได้เป็นความตั้งใจที่จะจัดเตรียมผู้เรียนล่วงหน้าในการเรียนรู้ด้วยสถานการณ์ให้ผู้เรียนสามารถปรับได้
การฝึกปฏิบัติต้องค่อยเป็นค่อยไปควรเริ่มจากง่ายง่ายทีละเล็กน้อยและค่อยค่อยยากขึ้นจนกระทั่งผู้เรียนสามารถปฏิบัติได้ดี
6.การวิจัยการเรียนรู้
การวิจัยการเรียนรู้ผู้ออกแบบการเรียนการสอนแบบเฝ้าดูงานวิจัยที่จะตัดสินว่าเงื่อนไขอะไรทำให้มีการเรียนรู้เพิ่มขึ้นในสถานการณ์ที่ขายครึ่งกับสิ่งที่ตนเผชิญอยู่ กรณีที่มีหลากหลายด้วยการตั้งคำถามลึกลึกเกี่ยวกับประสบการณ์ที่มีสำหรับการสำรวจประชากรกลุ่มใหญ่เพื่อที่ตัดสินใจว่าประชากรเรานั้นชอบหรือไม่ชอบแต่สิ่งที่สำคัญที่สุดเป็นการให้ผลต่อการศึกษาคือ
การทดลอง
แบบมโนทัศน์ของการวิจัยเกี่ยวกับการออกแบบการเรียนการสอน เนื้อหาส่วนใหญ่ของงานวิจัยที่เกี่ยวกับตัวแปรการออกแบบการเรียนการสอนต้องไปกว้างเกินไปโดยปราศจากการจัดการ
ริชชี ได้จัดกลุ่มงานวิจัยเกี่ยวกับตัวแปรการเรียนการสอนเป็นสี่กลุ่มใหญ่คือ
1.ผู้เรียน
2.เนื้อหาวิชา
3.สิ่งแวดล้อม
4.ระบบการสอน
ข้อมูลป้อนกลับ อีกวิธีหนึ่งทำให้การผิดพลาดคือการให้ผู้เรียนได้รับการรับรู้ที่คอยตอบสนองนั้นไม่ถูกต้องการรู้ว่าถูกหรือผิดควรช่วยให้ผู้เรียนแก้ไขการกระทำให้ถูกต้องระหว่างการทดลองและเน้นไปที่สวนของภาระงานที่ต้องกลั่นกรอง
7.ความเข้าใจผู้เรียนและการเรียนรู้
การเรียนรู้เป็นการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมที่ถาวร เนื่องจากการฝึกปฏิบัติหรือประสบการณ์การเรียนรู้ขึ้นอยู่กับ
3 ประการคือ
1.ประการแรกความสามารถของผู้เรียน
2.ประการที่สอง
ระดับของแรงจูงใจ
3.ประการสุดท้าย
ธรรมชาติของภาระงานการเรียนรู้
มีกระบวนการดังนี้ คือ
1. แรงจูงใจภายในทำให้ผู้เรียนรับความคิดง่าย
2. เป้าประสงค์ทำให้มีสำคัญได้ถึงความต้องการจำเป็นในสิ่งที่เรียน
3. ผู้เรียนเสาะหาวิธีการที่เหมาะสมในการแก้ปัญญา
4. ผลของความก้าวหน้าจากการเลือกแก้ปัญหาที่ลดความตึงเครียด
5. การขจัดพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสม
ขอบเขตของการเรียนรู้สามประการ
บลูมและเพื่อนๆเป็นที่รู้จักกันดีในการแบ่งการเรียนรู้เป็นสามประเภท คือ
1.พุทธิพิสัย (Cognitive Domain)(พฤติกรรมด้านสมอง)
เป็นพฤติกรรมเกี่ยวกับสติปัญญา ความรู้ ความคิด ความเฉลียวฉลาด
2.จิตพิสัย (Affective Domain)( พฤติกรรมด้านจิตใจ)
ค่านิยม ความรู้สึก ความซาบซึ้ง ทัศนคติ ความเชื่อ ความสนใจและคุณธรรม
3.ทักษะพิสัย (Psychomotor Domain) (พฤติกรรมด้านกล้ามเนื้อประสาท) พฤติกรรมที่บ่งถึงความสามารถในการปฏิบัติงานได้อย่างคล่องแคล่วชำนิชำนาญ
องค์ประกอบการเรียนรู้ ประกอบด้วยสิ่งสำคัญ
5 ประการคือ
1.ผู้เรียน
2.บทเรียน
3.วิธีการเรียนรู้
4.การถ่ายโยงการเรียนรู้
5.องค์ประกอบต่างๆทั้งกายภาพและจิตใจ
องค์ประกอบที่ส่งผลต่อการเรียนรู้ ได้แก่
1.องค์ประกอบด้านสติปัญญา เช่น ทฤษฎีเอกนัย ของบิเนท์ ทฤษฎีจัดกลุ่มและอันดับ และอื่นๆ
2.องค์ประกอบด้านที่ไม่ใช้สติปัญญา เป็นองค์ประกอบที่มีอิทธิพลต่อสัมฤทธิ์ผลทางการเรียนไม่น้อยกว่าองค์ประกอบด้านสติปัญญา
8.การเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
การเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลางเป็นการเรียนรู้ที่มุ่งเน้นผลประโยชน์ของผู้เรียนสนองความแตกต่างระหว่างบุคคล
ผู้เรียน เกิดการเรียนรู้อย่างแท้จริง เรียนรู้อย่างมีความสุข
และได้พัฒนาการทักษะในด้านต่างๆได้เต็มศักยภาพ
แนวคิด
1.ผู้เรียนต้องรับผิดชอบต่อการเรียนรู้ของตน
2.เนื้อหาวิชามีความสำคัญและมีความหมายต่อการเรียน
3.การเรียนรู้จะประสบผลสำเร็จถ้าผู้เรียนมีส่วนร่วมด้วย
4.สัมพันธภาพที่ดีระหว่างผู้เรียน การมีปฏิสัมพันธ์
5.ครูเป็นมากไปกว่าผู้สอน ครูเป็นทั้งทรัพยากรบุคคล เป็นแหล่งการเรียนรู้ เป็นผู้อำนวยความสะดวก
6.ผู้เรียนมีโอกาสเห็นตนเองในแง่มุมที่แตกต่างจากเดิม
7.การศึกษาเป็นพัฒนาประสบการณ์การเรียนรู้ของผู้เรียนหลายๆด้าน
8.ผู้เรียนได้เรียนรู้วิธีการทำงานอย่างเป็นกระบวนการ
9.การนำความรู้ที่ได้ไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวันได้
10.การเน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลางก่อให้เกิดประชาธิปไตย
11.การเน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลางสอนให้ผู้เรียนรู้จักวิพากษ์วิจารณ์
12.การเน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลางทำให้เกิดการนำตนเอง
13.การเน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลางก่อให้เกิดความคิดสร้างสรรค์
14.การเน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลางก่อให้เกิดมโนทัศน์ของตน
15.การเน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลางเป็นการเสาะแสวงหาความสามารถพิเศษของผู้เรียน
16.การเน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลางเป็นวิธีการที่ดีจะช่วยดึงศักยภาพของผู้เรียน
9.รูปแบบการเรียนรู้และวิธีการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
ในการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง มีรูปแบบการเรียนรู้ วิธีการและการ
จัดกาารเรียนการสอนที่หลากหลายกล่าวคือ
รูปแบบการเรียนรู้หลากหลาย เช่น
การเรียนรู้แบบสืบสวน การเรียนรู้การใช้เหตุผลเชิง จริยธรรม
การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม การเรียนรู้แบบโครงงาน การเรียนรู้แบบกระบวนการทาง
ปัญญาการเรียนรู้โดยใช้แผนการออกแบบประสบการณ์วิธีการจัดการเรียนการเรียนการสอนที่
หลากหลาย เช่น เกมการศึกษา สถานการณ์จําลอง กรณีตัวอย่าง บทบาทสมมติ การแก้ปัญหา
โปรแกรมสําเร็จรูป ศูนย์การเรียน ชุดการเรียน คอมพิวเตอร์ ในชั้นเรียนหนึ่งๆ จะมีความแตกต่างระหว่างบุคคลอยู่มาก ไม่มีใครสองคนที่เหมือนกันทุก ประการ แม้กระทั่งลูกแฝดที่เกิดจากไข่ใบเดียวกัน และผู้เรียนแต่ละคนก็จะมีสไตล์การเรียนรู้ที่เป็น ของตัวเอง และมีความถนัดในการเรียนรู้ที่แตกต่างกันทั้ง 4 แบบ (จิตนาการ วิเคราะห์ สามัญสํานึก เรียนรู้ด้วตนเอง : พลวัต) เพื่อให้ผู้เรียนเรียนรู้อย่างมีความสุข สนุกสนานและมีส่วนร่วมในรูปแบบ
การสอนโดยใช้วิธีบทบาทสมมติ
บทบาทสมมติเป็นรูปแบบการสอนที่มีรากฐานมาจากแนวคิดทางการศึกษาของบุคคลและ สังคมที่จะช่วยให้หาลักษณะเฉพาะของตนในสังคม และรู้จักแก้ปัญหาด้วยความช่วยเหลือของกลุ่ม สังคมยอมรับให้บุคคลทํางานด้วยกันเพื่อวิเคราะห์สถานการณ์ของสังคม โดยเฉพาะอย่างยิ่งปัญหา ระหว่างบุคคล และพัฒนาวิถีประชาธิปไตยเพื่อรับมือกับสถานการณ์ต่างๆ เราใช้บทบาทสมมติใน การแก้ปัญหาครอบครัวของมนุษย์ เพราะว่าสังคมเป็นส่วนหนึ่งของพัฒนาการของมนุษย์ และ บทบาทสมมติได้รับการนําเสนอว่าจะแก้ปัญหาระหว่างบุคคลและสังคมได้
มุมมองที่หลากหลายเป้าหมายเหล่านี้ สะท้อนสมมติฐานของบทบาทสมมติดังนี้
1. บทบาทสมมติสนับสนุนการเรียนรู้โดยใช้ประสบการณ์
2. อารมณ์และความคิดสามารถจะนําไปสู่ความมีสติและปฏิกิริยาของกลุ่มเพื่อจะนําไปสู่ ความคิดใหม่ๆ
3. กระบวนการทางจิตวิทยาที่แฝงอยู่จะสร้างความมีสติด้วยการประสานกันของการแสดง และวิเคราะห์
ปกติคนไทยโดยทั่วไปมักจะไม่ค่อยกล้าแสดงออกซึ่งความคิดเห็นของตนในที่สาธารณะ มากนัก แต่มักจะเก็บไปบ่นหรือปรารถนากันตามลําพัง ซึ่งไม่เกิดประโยชน์ในทางสร้างสรรค์ นั้นอาจเป็นเพราะว่าในวัยเด็กไม่ได้รับการฝึกหรือกระตุ้นให้เกิดความคิด และกล้าที่จะเสนอความ คิดเห็นของตนต่อที่ประชุมชน ดังนั้น การนําวิธีการเรียนรู้บนพื้นฐานของปัญหาหรือบางครั้งเรียกว่า วิธีการแก้ปัญหาสมมติ หรือการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นหลัก ซึ่งต่อไปจะเรียกว่าการเรียนด้วยวิธี ปัญหาสมมติ มาใช้ในการจัดการเรียน การสอนจะเป็นการช่วยพัฒนาให้ผู้เรียนคิดอย่างเป็นระบบ ซึ่งเรียกว่าคิดเป็น แก้ปัญหาเป็น ซึ่งเชื่อว่าเป็นวิธีการฝึกคนให้มีการเรียนรู้ซึ่งกันและกัน ความหมาย ของการเรียนด้วยวิธีปัญหาสมมติมีหลากหลาย แต่ที่เหมาะสมมากที่สุดคือ ความหมายที่ให้โดยเบาด์ และแฟลแลทที ซึ่งกล่าวว่า การเรียนด้วยวิธีปัญหาสมมติเป็นวิธีการพัฒนาหลักสูตรและวิธีการสอนที่ใช้ปัญหาเป็นตัวกระตุ้นและเน้นที่กิจกรรมของผู้เรียน ไม่ใช้วิธีการเรียนการแก้ปัญหาในหลักสูตรเดิมอย่างง่ายๆแต่เป็นวิธีจัดหลักสูตรให้มีกิจกรรมการเรียนรู้เกิดขึ้น โดยอาศัย เป็นจริงในการปฏิบัติของวิชาชีพนั้นเป็นตัวแกนหลักสูตร การเรียนด้วยวิธีการปัญหาสมมติ จะเริ่มต้นด้วยการให้ปัญหาที่เป็นสถานการณ์จริงแก่ผู้เรียนก่อน แทนที่จะให้ความรู้ทางสาขาวิชาที่เกี่ยวข้องก่อนเพื่อแก้ปัญหา ด้วยวิธีนี้หลักสูตรและการสอนจึงนำผู้เรียนไปสู่การแสวงหาวิชา ความรู้ และทักษะด้วยตนเอง โดยผ่านขั้นการแก้ปัญหาที่จัดไว้ให้โดยอาศัยวัตถุการเรียนการสอนและ ที่กําหนดให้ตามหลักสูตร
เนื้อหาในส่วนนี้มุ่งทบทวนวิธีการเรียนรู้แบบร่วมมือกันในชั้นเรียนปกติ ซึ่งรวมถึง นักเรียนที่มีความต้องการพิเศษด้วย การอภิปรายมุ่งเน้นที่ข้อได้เปรียบของโครงสร้างเป้าประสงค์ใน การร่วมมือกัน รูปแบบของการเรียนรู้แบบร่วมมือกัน ตลอดจนตรรกะของการเรียนรู้แบบร่วมมือกัน โครงสร้างของสิ่งจูงใจที่มีประสิทธิภาพและปัญหาต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการนําไปใช้
เมื่อกว่ายี่สิบปีที่ผ่านมาได้มีการประชุมที่เมืองเทลาวีฟ ประเทศอิสราเอล และมีการจัด องค์กรเกี่ยวข้องกับการเรียนรู้แบบร่วมมือกันระหว่างประเทศมีสํานักงานที่เมืองลอสแองเจลลีส ประเทศสหรัฐอเมริกา และมีสมาชิกหลายประเทศแต่ละปีจะมีการจัดสัมมนาโดยประเทศต่างๆผลัด กันเป็นเจ้าภาพและมีหนังสือชื่อ (Cooperative Learning) ออกวางตลาดองค์กรดังกล่าวนี้เพิ่มการ เติบโตประมาณยี่สิบกว่าปี หนังสือพิมพ์ ได้วิจารณ์ว่ากระบวนการนี้เขย่าวงการศึกษา ต่อไปนี้ วงการศึกษาจะเริ่มมีการเปลี่ยนแปลง โดยเน้นให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมให้มากขึ้น งานในปัจจุบันส่วน ใหญ่ต้องการคนทํางานร่วมกันตั้งแต่สองคนขึ้นไป
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการเรียนรู้แบบร่วมมือกัน
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการเรียนรู้แบบร่วมมือกันในที่นี้ จะหมายรวมถึงนิยาม ลักษณะและ องค์ประกอบพื้นฐาน โครงสร้างทางทฤษฎีและกิจกรรมเริ่มต้น อุ่นเครื่อง
นิยาม การเรียนรู้แบบร่วมมือกันเป็นการเรียนรู้ที่เน้นการร่วมมือกันของสมาชิกในทีมและระหว่าง ทีม กล่าวคือนักเรียนในแต่ละทีมต้องให้ความร่วมมือกันและสนับสนุนกันภายในทีมของตน
เป้าหมาย เป็นเป้าหมายของการเรียนรู้ที่ประสงค์จะให้เกิดความเชี่ยวชาญ รอบรู้ในวิชา เรียนสามารถทําทุกอย่างได้มากไปกว่าที่เขียนไว้ในหนังสือ เน้นกระบวนการคิดและใช้เวลาในการ ไตร่ตรอง
วิธีการเรียนรู้ หมายถึงว่า จะทําอย่างไร จึงจะนําไปสู่ความเชี่ยวชาญได้ ซึ่งมีอยู่ : รูปแบบด้วยกันคือ รูปแบบแรกเป็นวิธีการทางบวก คือ แบบพึ่งพากับหรือแบบร่วมมือกัน แบบที่สองเป็นวิธีการที่อาจกล่าวได้ว่าเป็นลบในบางโอกาส คือ การแข่งขันกัน และแบบสุดท้าย เป็น กลางหรือเรียกว่าตัวคนเดียว กล่าวคือ
1. วิธีการเรียนรู้แบบร่วมมือ
2. การเรียนรู้แบบแข่งขันกัน
3. วิธีการเรียนรู้แบบตัวคนเดียว
รูปแบบการเรียนรู้แบบร่วมมือกัน
การเรียนแบบร่วมมือกันมีหลายรูปแบบ
แต่รูปแบบที่นิยมใช้กันมากในประเทศ สหรัฐอเมริกามี 7 รูปแบบ คือ แบบรวมหัวกันคิด
แบบร่วมมือกัน แบบประสานความรู้ แบบประชุม ตะ กลมแบบสนทนาโต๊ะกลม แบบอาศัยผลสัมฤทธิ์ของทีมและแบบเกมแข่งขัน
กล่าวคือ
แบบรวมหัวกันคิด
แบบรวมหัวกันคิด เมื่อครูต้องการสอบความรู้ความเข้าใจของนักเรียนในเรื่องที่ครูสอนไป แล้ว ตามวิธีการแบบดั้งเดิมครูจะใช้วิธีเรียกชื่อนักเรียนตอบคําถามทีละคน หรือนักเรียนยกมือเพื่อ ตอบคําถามแล้วคนก็เรียกนักเรียนคนใดคนหนึ่งให้ตอบคําถาม จุดอ่อนของวิธีดังกล่าวคือ จะมี นักเรียนเพียงไม่กี่คนในห้องที่จะได้ตอบคําถาม นักเรียนส่วนใหญ่ที่ไม่มีโอกาสตอบคําที่จะเกิด ความรู้สึกผิดหวัง ไม่มีส่วนร่วมเป็นสาเหตุ
แบบร่วมมือกัน
การเปิดโอกาสให้นักเรียนในกลุ่มขนาดเล็กได้ทํางานร่วมกับ การเรียนรู้แบบร่วมมือกัน เป็นการเปิดโอกาสให้นักเรียนในกลุ่มขนาดเล็ก มากที่สุด โดยเอาความรู้ความเข้าใจสมาชิกของกลุ่มบูรณาการเป็นผลงานของกลุ่ม และ หรือประสบการณ์ที่ได้นําเสนอต่อสมาชิกในชั้นเรียน เพื่อให้สมาชิกคนอื่นๆ ได้รับความรู้และประสบการณ์ที่กลุ่มไปศึกษานั้นด้วย ขั้นตอนในการปฏิบัติของการเรียนแบบนี้มี 10 ขั้นตอนคือ
1.การอธิปรายทั้งชั้นเรียนโดยให้นักเรียนเป็นศูนย์กลาง
2.การคัดเลือกลุ่มนักเรียน
3.การสร้างทีมพัฒนาทักษะ
4.การคัดเลือกหัวเรื่อง
5.การคัดเลือกหัวข้อย่อย
6.การเตรียมหัวข้อย่อย
7.การนำเสนอหัวข้อย่อย
8.การเตรียมเสนอผลงานของทีม
9.การนำเสนอผลงานของทีม
10.การประเมินผลด้วยวิธีกาสามอย่างคือ
10.1 สมาชิกในทีมงานประเมินผลงานของแต่ละคนที่นำเสนอหัวข้อย่อยในทีมของตนเพื่อนร่วมชั้นประเมินผลงานของแต่ทีมที่นำเสนอต่อชั้นเรียน
10.2 ครูประเมินในส่วนที่เป็นรายงานเฉพาะบุคคล
แบบประสานความรู้
การเรียนในลักษณะประสานความรู้ เริ่มต้นโดยการแบ่งนักเรียนในชั้นเรียนออกเป็นกลุ่มย่อยครูให้หัวข้อหรือปัญหาแล้วแบ่งหัวข้อให้สมาชิกและคนไปศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง
ด้วยวิธีการต่างๆเพื่อให้ได้มาซึ่งความรู้ ทั้งนี้เมื่อแต่ละคนได้ความรู้มาแล้วก็จะนำไปร่วมศึกษากับสมาชิกกลุ่มอื่นที่ได้หัวข้อเหมือนตนเอง
จนได้ความรู้เพิ่มเติม ครบบริบูรณ์ การอภิปรายงานกลุ่ม โดยมีขั้นตอนดังนี้
1.ครูแจ้งเรื่องที่จะเรียน จะเรียนอย่างหรือจะขยายความรู้อย่างไร
ติดภาพไว้ให้เด็กได้ดูกิจกรรมที่จะจัด
2.จัดกลุ่ม/ทีม ถ้ากลุ่มเดิมยังไม่หมดอายุก็ให้ใช้ก่อน
(ประมาณหกสัปดาห์) หากหมดอายุแล้วก็จัดกลุ่มใหม่
3.แบ่งงานศึกษาเรื่องที่กำหนด
4.ศึกษากับกลุ่มผู้เชี่ยวชาญ
5.รายงานผลหรือให้ความรู้กับผู้ร่วมทีม
6.ทดสอบ
คำนวณคะแนน และประเมินผล
7.การยอมรับของกลุ่ม/ทีม
และให้การชมเชย
แบบประชุมโต๊ะกลม
เป็นกระบวนการเรียนรู้แบบร่วมมือกัน
ซึ่งเป็นการฝึกให้นักเรียนได้แสดงความคิดเห็นด้วยการเขียนลงบนกระดาษจากปัญหาเดียวกัน
เหมาะกับนักเรียนที่เขียนหนังสือได้ โดยมีขั้นตอนดังนี้
1.การเสนอปัญหา
โดยครูจะถามคำถามซึ่งมีคำตอบหลายคำตอบ
2.คำตอบของนักเรียน
ให้นักเรียนเขียนคำตอบของตนลงในกระดาษแผ่นเดียวกันเวียนทางเดียวกันจนครบทุกคน
การสอนด้วยวิธีการคิดแบบหมวกหกใบ
แนวการสอนเพื่อพัฒนาความคิดมีสามแนวทาง
1. การสอนเพื่อพัฒนาการคิดโดยตรง ด้วยการใช้สื่อการเรียนการสอนประเภทบทเรียน สําเร็จรูป หรือกิจกรรมสําเร็จรูป
2. การสอนเนื้อหาสาระต่างๆ โดยใช้รูปแบบหรือกระบวนการสอนที่เน้นการพัฒนาการคิด สอนลักษณะนี้มุ่งรวมเนื้อหาสาระตามจุดประสงค์ของหลักสูตร แต่เพื่อช่วยให้การสอนเป็นการสอนเป็นการช่วยความสามารถในการคิดของผู้เรียนไปในตัว ผู้สอนสามารถนํารูปแบบการสอนเป็นการ ช่วยพัฒนาความสามารถในการคิดของผู้เรียนไปในตัว
3. การสอนเนื้อหาสาระต่างๆ โดยพยายามส่งเสริมให้ผู้เรียนัฒนาลักษณะการคิดแบบต่างๆ
หมวกหกใบ เป็นตัวแทนของการคิดหกลักษณะ และเป็นทิศทางที่นําไปสู่การคิด ที่จะให้ชื่อว่าเป็นความคิด นั่นคือ เป็นหมวกที่ใช้ในเชิงรุกมากกว่าที่จะใช้ในเชิงรับ(ตอบสนอง)
จุดประสงค์สําคัญ คือว่า หมวกแต่งใบจะเป็นทิศทางในการคิด มากกว่านี้ ความคิด เหตุผลทางทฤษฎีที่สําคัญในการใช้การคิดแบบหมวกหกใบ คือ
ความคิดแบบหมวกสีขาว ความคิดแบบหมวกสีขาวจะครอบคลุมความต้องการจําเป็น สาระสนเทศและช่องว่างที่เกี่ยวกับข้อความจริงและตัวเลข ไม่ถกเถียงกันว่าข้อมูลใครดีกว่ากัน ไม่ว่า เรื่องความคิดส่วนตัวมาพูด แต่ให้ดูพื้นฐานจากข้อมูลต่างๆแสดงถึงความเป็นกลาง ถ้าจะตั้งคําถาม ให้เกิดความคิด ก็จะถามว่า มีข้อมูลอะไรบ้าง ต้องการข้อมูลอะไร และข้อมูลที่ต้องการจะได้มาด้วย วิธีใดตัวอย่างเช่น การสอนความคิดเกี่ยวกับดอกทานตะวัน ข้อมูลและข้อความจริงเกี่ยวกับดอก ทานตะวันคือ
1. ดอกสีเหลืองใหญ่ ใบสีเขียวหนา มีขน
2. ดอกจะหันหน้าไปรับแสงอาทิตย์
3. มีเมล็ดเล็กๆรวมกลางดอกมาก
4. เมล็ดใช้ทำน้ำมันและใช้รับทานได้
5. ดอกบานในฤดูหนาว
6. สัญลักษณ์ของพรรคความหวังใหม่
ความคิดแบบหมวกสีแดง ความคิดแบบหมวกสีแดงครอบคลุมเรื่องของสัญชาตญาณ
ความรู้สึกอารมณ์ หมวกสีแดงจะยอมให้ผู้คิดใช้สัญชาตญาณ โดยปราศจากการตัดสิน
ความรู้สึกและ สัญชาตญาณ
โดยปกติแล้วสามารถนําไปสู่การอภิปรายได้ถ้าอาศัยตรรกะเป็นหลักโดยปกติแล้ว
ความรู้สึกก็เป็นของแท้ แต่เหตุผลจะเป็นของปลอม
ความคิดแบบหมวกแดงจะอนุญาตเต็มที่ให้ผู้คิด
ใส่ความรู้สึกไปในเรื่องที่กําลังคิดกันอยู่ในขณะนั้น
ถ้าจะตั้งคําถามให้เกิดความคิดก็จะถามว่า ผู้สอน อย่างไร
ผู้เรียนรู้สึกอย่างไรกับสิ่งที่ทํา และผู้เรียนมีความรู้สึกอย่างไรกับความคิดนี้ตัวอย่างความรู้สึก
และอารมณ์ความคิดแบบหมวกดํา ความคิดแบบหมวกดําจะเป็นเรื่องของการใช้ดุลพินิจพิจารณา ข้อความระวัง เป็นหมวกที่มีคุณค่ามากที่สุด ไม่ได้เป็นหมวกที่มีความรู้สึกผิดหรือด้อยคุณคา 8 เป็นหมวกที่ให้ความรู้สึกในทางลบ หมวกดําจะใช้ในการชี้ว่าทําไมข้อเสนอแนะจึงไม่สอดคล้องกับ ข้อความจริง ประสบการณ์ที่มีอยู่ ระบบที่ใช้อยู่ หรือนโยบายที่ปฏิบัติอยู่หมวกสีดําต้องใช้เหตุผลหร ตรรกะเสมอในการตรวจสอบหาหลักฐาน ตรวจสอบหาความเป็นเหตุเป็นผลตรวจสอบ ความเป็นไปได้ ตรวจสอบผลกระทบ ตรวจสอบความเหมาะสม และตรวจสอบหาความบกพร่องและหากตั้งคําถามให้คิด จะถามว่า อะไรคือจุดอ่อน อะไรคือสิ่งที่ยุ่งยาก อะไรคือสิ่งที่พลาด และเรื่องจุดอ่อนที่ใด
ความคิดแบบหมวกสีเหลือง ความคิดแบบหมวกสีเหลืองเป็นความคิดที่เป็นเหตุเป็นผลทางบวก ทําไมบางสิ่งบางอย่างจึงทําได้ และทําไมบางสิ่งบางอย่างจึงให้ประโยชน์เป็นความคิดที่ สามารถมองไปข้างหน้าถึงเหตุผลของการปฏิบัติ หรือสามารถใช้ในการดูผลลัพธ์ที่จะตามมาของการ นําเสนอการกระทําของคนบางคนแต่ใช้ในการค้นหาอะไรบางสิ่งบางอย่างที่เกิดขึ้นแล้วอย่างมีคุณค่า และหากตั้งคําถามให้คิดว่า จุดที่ดีคืออะไร ผลดีคืออะไร
ความคิดแบบหมวกสีเขียว ความคิดแบบหมวกสีเขียว เป็นการนําเสนอความคิดที่ สร้างสรรค์ มีทางเลือกหลากหลาย น่าสนใจ ท้าทาย และมีการเปลี่ยนแปลง ตัวอย่างคําถามคือผู้เรียน จะนําความคิดนี้ไปทํา (สร้าง ปรับปรุง พัฒนา) อะไรได้ ถ้าจะให้สิ่งนี้ (ดีขึ้น) จะต้องเปลี่ยนอย่างไร
ความคิดแบบหมวกสีน้ำเงิน การคิดแบบหมวกสีน้ำเงิน เป็นการมองภาพรวมหรือเป็น หมวกที่ควบคุมกระบวนการ จะไม่ดูที่เนื้อหาวิชาเอง แต่จะคิดเกี่ยวกับเนื้อหารายวิชานั้นๆ หมวกสีน้ำเงินทําให้ผู้เรียนสามารถควบคุมการเรียนของตนเอง สามารถติดตามความผิดพลาด และความเชื่อผิดๆ ของตนเอง เพื่อแก้ไขให้ถูกต้องเป็นตัวแทนของการควบคุมกระบวนการคิดให้ประสานกัน หมวกสีน้ำเงินจะเกี่ยวข้องกับการคิดที่ยิ่งใหญ่ ตัวอย่างคําถาม เช่น การคิดอะไรที่ต้องการ ขั้นตอนต่อไปนี้คือ อะไร และการคิดอะไรที่ทําไปก่อนแล้ว ดังนั้นผู้เรียนจะต้องนําข้อมูลที่ได้มาจัดหมวดหมู่เรียงลําดับ ขั้นตอน และเรียบเรียงเป็นโครงเรื่องเกี่ยวกับดอกทานตะวันเพื่อที่จะนําไปเรียบเรียงเนื้อหาให้ สมบูรณ์ต่อไป ในขั้นตอนนี้ผู้เรียนจะเลือกข้อมูลมาจัดหมวดหมู่แล้วคิดเพิ่มเติมหรืออาจจะศึกษา ความรู้จากแหล่งอื่นๆ เพื่อให้ได้ข้อมูลที่สมบูรณ์ขึ้น จะเห็นได้ว่าหมวกความคิดใบที่หกสี สามารถ นามาประยุกต์ใช้ในการจัดกิจการการเรียนการสอนให้ผู้เรียนได้เกิดทักษะการคิด การพูด การเขียนไปตามเนื้อหาสาระของวิชานั้นๆ ได้ ผู้สอนก็จะมีคําถามหรือแนวทางที่กระตุ้นความคิดของผู้เรียนได้อย่างหลากหลาย
สรุป การคิดแบบหมวกหกใบพัฒนาขึ้น โดย เดอ โบโน ชาวอังกฤษ
การคิดในลักษณะนี้ ได้รับความนิยมมากในวงการธุรกิจและการเรียนการสอน
เพราะเชื่อว่าสามารถพัฒนาความคิดของ ผู้เรียนได้โดยไม่จํากัดเชื้อชาติ วัฒนธรรม
และระดับชั้นเรียน ง่ายแก่การนําไปใช้เพราะเป็นกิจกรรมที่ ไม่ซับซ้อน
ประโยชน์ของการใช้หมวกคือ จะช่วยให้ผู้เรียนได้พยายามคิดอย่างรอบคอบ สร้างสรรค์
ทั้งจุดดี จุดด้อย จุดที่น่าสนใจ ตลอดจนความรู้สึกที่มีต่อสิ่งนั้นๆแทนที่จะยึดติดอยู่กับความคิดใน
รูปแบบใดรูปแบบหนึ่ง หรือยึดติดอยู่กับความคิดด้านใดด้านหนึ่งเพียงด้านเดียว
หมวกแห่งความคิดมี ทั้งหมดหกใบและหกสี คือ สีขาว สีแดง สีดํา สีเหลือง สีเขียว
และสีน้ำเงินหมวกทั้งหกสีไม่มีลําดับ ขนตอนหรือข้อกําหนดตายตัวว่า ควรใช้สีใดก่อน
ผู้สวมหมวกจะเป็นใครก็ได้ ผู้สอน หรือผู้เรียน หรือคนอื่นๆ
เพื่อใช้เป็นสัญลักษณ์หรือเป็นตัวแทนให้ผู้สวมได้แสดงความคิดประเด็นต่างๆตามสีของหมวกที่สวม
ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ผู้สอนสามารถนําความคิดแบบหมวกหกใบมาประยุกต์ใช้ในการจัดการเรียนการสอนที่ยึดผู้เรียนเป็นสําคัญได้
เพราะผู้เรียนจะได้มีโอกาสพัฒนาความคิดอย่างหลากหลาย เกิดประสบการณ์การเรียนรู้ด้วยตนเอง ได้ค้นพบสาระสําคัญของบทเรียน
โดยฝึกการคิด การวิเคราะห์ การสร้างสรรค์จิตนาการ และการแสดงออกได้อย่างชัดเจน
ผู้เรียนจึงมีบทบาทในการกระตุ้นและส่งเสริมให้ผู้เรียนได้ค้นหาคําตอบด้วยตนเองสอดคล้องกับการปฏิรูปการเรียนรู้
สรุป
สภาวการณ์การเรียนการสอนพื้นฐานการเรียนการสอนปกติจะรวมอยู่ในการเรียนการสอนทุกประเภทประกอบด้วยบทนำการนำเสนอการทดสอบตามเกณฑ์การปฏิบัติในท่ามกลาง (ระหว่างภาคเรียน) และการแนะนำและการให้ข้อมูลป้อนกลับ
ความต้องการทฤษฎีการเรียนการสอน ทฤษฎีการเรียนการสอนเป็นประโยชน์กับการผลิตครูในการที่จะให้คำตอบว่าครูจะสอนอะไรและผู้เรียนเรียนอะไรได้อย่างไร ครูจะต้องรู้ว่าจะจัดการต่อพฤติกรรมของตนเองที่มีผลต่อการเรียนของนักเรียนอย่างไร
ธรรมชาติของทฤษฎีการเรียนการสอน ทฤษฎีการเรียนรู้และทฤษฎีพัฒนาการมีความสัมพันธ์กับทฤษฎีการเรียนการสอน
ทฤษฎีการเรียนการสอนมีลักษณะสำคัญ 4 ประการ ดังนี้
1.การชี้เฉพาะประสบการณ์ซึ่งถูกฝังลมเฉพาะบุคคลให้โอนเอียงสู่การเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ
2. ชี้เฉพาะพิธีการจัดสร้างองค์ความรู้เพื่อให้ผู้เรียนเกิดความพร้อมที่สุดในการตักตวงความรู้
3.ชี้เฉพาะขั้นตอนที่มีประสิทธิภาพที่สุดในการนำเสนอสิ่งที่ผู้เรียนต้องเรียนรู้
4. ควรชี้เฉพาะธรรมชาติและช่วงก้าวของการให้รางวัลและการลงโทษในขบวนการของการเรียนรู้และการสอน
ทฤษฎีการเรียนการสอนที่น่าสนใจและเป็นประโยชน์มีอยู่มาก
เช่น ทฤษฎีการของกาเย่และบริกส์ ทฤษฎีเมอร์ริสไรเกรุทของเคส และทฤษฎีของลันดา ในการเรียนการสอนต้องพิจารณาคุณลักษณะของผู้เรียนใช้การสอนสไลด์การเรียนรู้แบบจำลองการสอนทักษะการสอนสมรรถภาพโดยทั่วไปการจัดการเรียนรู้การสอนและการนำเสนอการเรียนการสอน หลักการเรียนรู้ในบทนี้เป็นการนำเสนอสารสนเทศข้อความจริง มโนทัศน์และหลักการของกูเพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้
ประกอบด้วย การแนะนำบทเรียนการนำเสนอเนื้อหาใหม่และบาร์และการฝึกปฏิบัติ
การวิจัยการเรียนรู้เป็นการวิจัยที่ตัดสินว่าเงื่อนไขอะไรที่ทำให้มีการเรียนรู้เพิ่มขึ้นด้วยการสำรวจ
การศึกษาพฤติกรรมและการให้ความสำคัญเป็นอย่างมากกับการทดลอง
ความเข้าใจผู้เรียนและการเรียนรู้การเรียนรู้มีขอบเขต
4 ด้านด้านพุทธิพิสัย ด้านจิตพิสัย ด้านทักษะพิสัยและด้านสังคมพิสัย องค์ประกอบของการเรียนรู้ประกอบด้วยสิ่งสำคัญ 5
อย่างคือ ตัวผู้เรียน บทเรียนวิธีการเรียน การถ่ายโอนการเรียนรู้ และองค์ประกอบจากสิ่งแวดล้อมต่างๆองค์ประกอบที่ส่งผลต่อการเรียนรู้ของมนุษย์มี
2 ด้านคือ ด้านสติปัญญาและด้านที่ไม่ใช้สติปัญญา
การเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง หรือการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญเป็นการเรียนการสอนที่มุ่งประโยชน์สูงสุดแก่ผู้เรียนตอบสนองความแตกต่างระหว่างบุคคลผู้เรียนเกิดการเรียนรู้อย่างแท้จริง
เรียนรู้อย่างมีความสุขได้พัฒนาเต็มตามศักยภาพรอบด้านมีความสมดุล มีทักษะการแสดงแสวงหาความรู้และสามารถนำความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำวันได้จริง เช่น การเรียนรู้สถานการณ์จริงนักการศึกษาที่เป็นผู้คิดค้นและใช้คำว่าผู้เรียนเป็นศูนย์กลางเป็นคนแรกคือ
คาร์ล อาร์ โรเจอร์
รูปแบบการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์การ เช่น การเรียนรู้แบบสืบสวนสอบสวนการเรียนรู้การใช้เหตุผลเชิงจริยธรรมการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมการเรียนรู้แบบโครงสร้างการเรียนรู้กระบวนการทางสติปัญญา การเรียนรู้โดยใช้แผนการออกแบบประสบการณ์การเรียนรู้โดยใช้การขบวนการทำวิจัยการเรียนรู้แบบค้นคว้าเป็นกลุ่ม การเรียนรู้แบบความคิดรวบยอด การเรียนรู้โดยค้นพบการเรียนรู้แบบเป็นศูนย์การเรียนการเรียนรู้แบบร่วมมือ
วิธีการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง เช่น การเรียนรู้โดยใช้เกมการศึกษาสถานการณ์จำลอง กรณีตัวอย่าง
บทบาทสมมติ การแก้ปัญหา โปรแกรมสำเร็จรูป ศูนย์การเรียนชุดการเรียนการสอน คอมพิวเตอร์ช่วยสอน โครงงาน
การทดสอง การถาม-ตอบ การอภิปรายกลุ่มย่อย เป็นต้น
อ้างอิง
พิจิตรา ธงพานิช. วิชาการออกแบบและการจัดการเรียนรู้ในชั้นเรียน.
พิมพ์ครั้งที่ 3 นครปฐม : โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์, 2560.
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น